ต้นตะแบก
ชื่อวิทยาศาสตร์: Lagerstroemia floribunda
ตะแบกนา (ตะแบกไข่, เปื๋อยนา, เปื๋อยหางค่าง) เป็นต้นไม้ผลัดใบ 15–30 เมตร ใบเดี่ยว ออกตรงข้ามหรือเยื้องกันเล็กน้อยใบอ่อนสีแดงมีขนสั้นอ่อนนุ่มปกคลุม ใบแก่ขนจะหลุดหายไป แผ่นใบรูปขอบขนานแกมรูปหอก กว้าง 5–7 เซนติเมตร ยาว 12–20 เซนติเมตร ปลายใบเป็นติ่งแหลม โคนสอบ ดอกสีม่วงอมชมพูต่อมาเปลี่ยนเป็นสีขาวหรือเกือบขาว ออกรวมกันเป็นช่อตามปลายกิ่ง ผล รูปรี ยาวประมาณ 2 เซนติเมตร ออกดอก กรกฎาคมถึงกันยายน ไม่แน่นอนแล้วแต่สภาพพื้นที่และสิ่งแวดล้อม เก็บเมล็ดได้ประมาณเดือนธันวาคมขึ้นไป ผลแก่ จะแตกเพื่อโปรยเมล็ดในราวเดือนมีนาคม การขยายพันธุ์โดยเมล็ด
ภาคกลาง และทั่วไป
– ตะแบก
– ตะแบกใหญ่
– ตะแบกหนัง
ภาคเหนือ
– แลนไห้
– ป๋วย
– เปื๋อย, เปือย
– เปื๋อยขาว
– เปื๋อยตุ้ย
– เปื๋อยค่าง
– เปื๋อยเปลือกหนา
– ตะคู้ฮก (กะเหรี่ยง-แม่ฮ่องสอน)
ภาคใต้
– ตะแบกขาวใหญ่
– ตะแบกใหญ่
– บองอยาม
– ตะแบกแดง
– อ้าย
ภาคอีสาน
– เปลือยดง
ภาคตะวันออก
– ตะแบกหนัง
– ตะแบก
– ตะแบกใหญ่
– ตะแบกหนัง
ภาคเหนือ
– แลนไห้
– ป๋วย
– เปื๋อย, เปือย
– เปื๋อยขาว
– เปื๋อยตุ้ย
– เปื๋อยค่าง
– เปื๋อยเปลือกหนา
– ตะคู้ฮก (กะเหรี่ยง-แม่ฮ่องสอน)
ภาคใต้
– ตะแบกขาวใหญ่
– ตะแบกใหญ่
– บองอยาม
– ตะแบกแดง
– อ้าย
ภาคอีสาน
– เปลือยดง
ภาคตะวันออก
– ตะแบกหนัง
ประโยชน์ตะแบก
1. ไม้ตะแบกมีทรงพุ่มใหญ่กว้าง ทรงพุ่มหนา ทำให้เป็นร่มเงาได้ดี นอกจากนั้น ดอกออกเป็นช่อขนาดใหญ่ ดอกมีสีม่วงหรือขาว เมื่อดอกบานจะเป็นช่อใหญ่สวยงาม จึงนิยมปลูกเป็นไม้ให้ร่มเงา และเพื่อประดับดอก ซึ่งพบเห็นได้ตามสวนสาธารณหรือข้างถนนหนทาง
2. เนื้อไม้ตะแบกมีสีน้ำตาลอมเทา เนื้อไม้แข็งแรง ไม่มีเสี้ยน แผ่นไม้ไม่แตกเป็นร่อง นิยมแปรรูปเป็นไม้ก่อสร้างต่างๆ อาทิ แผ่นไม้ปูพื้น ไม้ฝ้า ไม้วงกบ รวมถึงแปรรูปเป็นเฟอร์นิเจอร์ และเครื่องใช้ในครัวเรือน อาทิ โต๊ะ เตียง กล่องไม้ ด้ามมีด ด้ามปืน เป็นต้น
3. ท่อนไม้ตะแบกใช้เผาถ่าน ให้ก้อนถ่านแข็ง ถ่านให้ความร้อนสูง รวมถึงกิ่งก้านใช้เป็นเชื้อเพลิงหุงหาอาหารได้เป็นอย่างดี
4. ต้นตะแบกเป็นไม้มงคล เพราะคนไทยโบราณเชื่อว่า การปลูกตะแบกจะช่วยค้ำชูคนในครอบครัวให้ร่มเย็นเป็นสุข ฐานะร่ำรวย มั่นคง ดั่งคำเรียกที่ว่า ตะแบก หมายถึง การแบกรับไว้ไม่ให้ตกต่ำ [6]
5. ขอนดอก เป็นชื่อเรียกแก่ไม้ตะแบกที่มีลักษณะผุผัง มีสีน้ำตาลอมดำ ประขาว มีโพรงอากาศ มีกลิ่นหอม คล้ายกับแก่นกฤษณา เกิดเฉพาะต้นตะแบกที่มีอายุมาก เนื่องจากมีราบางชนิดเข้าไปเติบโตในแก่น แก่นบริเวณนี้ นิยมใช้ทำเป็นยาหรือใช้สกัดน้ำหอม
1. ไม้ตะแบกมีทรงพุ่มใหญ่กว้าง ทรงพุ่มหนา ทำให้เป็นร่มเงาได้ดี นอกจากนั้น ดอกออกเป็นช่อขนาดใหญ่ ดอกมีสีม่วงหรือขาว เมื่อดอกบานจะเป็นช่อใหญ่สวยงาม จึงนิยมปลูกเป็นไม้ให้ร่มเงา และเพื่อประดับดอก ซึ่งพบเห็นได้ตามสวนสาธารณหรือข้างถนนหนทาง
2. เนื้อไม้ตะแบกมีสีน้ำตาลอมเทา เนื้อไม้แข็งแรง ไม่มีเสี้ยน แผ่นไม้ไม่แตกเป็นร่อง นิยมแปรรูปเป็นไม้ก่อสร้างต่างๆ อาทิ แผ่นไม้ปูพื้น ไม้ฝ้า ไม้วงกบ รวมถึงแปรรูปเป็นเฟอร์นิเจอร์ และเครื่องใช้ในครัวเรือน อาทิ โต๊ะ เตียง กล่องไม้ ด้ามมีด ด้ามปืน เป็นต้น
3. ท่อนไม้ตะแบกใช้เผาถ่าน ให้ก้อนถ่านแข็ง ถ่านให้ความร้อนสูง รวมถึงกิ่งก้านใช้เป็นเชื้อเพลิงหุงหาอาหารได้เป็นอย่างดี
4. ต้นตะแบกเป็นไม้มงคล เพราะคนไทยโบราณเชื่อว่า การปลูกตะแบกจะช่วยค้ำชูคนในครอบครัวให้ร่มเย็นเป็นสุข ฐานะร่ำรวย มั่นคง ดั่งคำเรียกที่ว่า ตะแบก หมายถึง การแบกรับไว้ไม่ให้ตกต่ำ [6]
5. ขอนดอก เป็นชื่อเรียกแก่ไม้ตะแบกที่มีลักษณะผุผัง มีสีน้ำตาลอมดำ ประขาว มีโพรงอากาศ มีกลิ่นหอม คล้ายกับแก่นกฤษณา เกิดเฉพาะต้นตะแบกที่มีอายุมาก เนื่องจากมีราบางชนิดเข้าไปเติบโตในแก่น แก่นบริเวณนี้ นิยมใช้ทำเป็นยาหรือใช้สกัดน้ำหอม
สรรพคุณตะแบก
ดอก (ต้มดื่ม)
– แก้ท้องเสีย
– ช่วยบำรุงเลือด บำรุงร่างกาย
ดอก (ต้มดื่ม)
– แก้ท้องเสีย
– ช่วยบำรุงเลือด บำรุงร่างกาย
ดอก (บดใช้ภายนอกหรือต้มอาบ)
– ช่วยรักษาบาดแผล
– ช่วยห้ามเลือด
– แก้โรคผิวหนัง
– รักษาผดผื่นคัน
– ช่วยรักษาบาดแผล
– ช่วยห้ามเลือด
– แก้โรคผิวหนัง
– รักษาผดผื่นคัน
เปลือก และแก่นลำต้น (ต้มดื่ม)
– บรรเทาอาการไข้หวัด
– แก้มูกเลือด
– ช่วยบรรเทาอาการท้องเสีย ท้องร่วง
– แก้โรคบิด
– ช่วยแก้พิษ แก้ลงแดง แก้พิษสารเสพติด
– บรรเทาอาการไข้หวัด
– แก้มูกเลือด
– ช่วยบรรเทาอาการท้องเสีย ท้องร่วง
– แก้โรคบิด
– ช่วยแก้พิษ แก้ลงแดง แก้พิษสารเสพติด
เปลือก และแก่นลำต้น (ต้มน้ำอาบ)
– รักษาโรคผิวหนัง กลากเกลื้อจากเชื้อรา
– รักษาผดผื่นคัน
– รักษาโรคผิวหนัง กลากเกลื้อจากเชื้อรา
– รักษาผดผื่นคัน
ราก
– แก้อาการปวดเมื่อยร่างกาย
– แก้อาการปวดเมื่อยร่างกาย
ขอนดอกหรือแก่นดำ (ต้มดื่ม)
– ช่วยบำรุงหัวใจ
– บำรุงปอด
– บำรุงตับ
– ใช้เป็นยาแก้วิงเวียนศรีษะ หน้ามืด ตาลาย
– ช่วยแก้พิษไข้
– ช่วยขับเสมหะ
– ช่วยบำรุงหัวใจ
– บำรุงปอด
– บำรุงตับ
– ใช้เป็นยาแก้วิงเวียนศรีษะ หน้ามืด ตาลาย
– ช่วยแก้พิษไข้
– ช่วยขับเสมหะ
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น